NotiPass_80%แจ้งปิดระบบ K-Trade Connect ในวันที่ 11 ธันวาคม 2562 เวลา 22:00 น. ถึงวันที่ 12 ธันวาคม 2562 เวลา 02:00 น.
$รายละเอียดเพิ่มเติม%/th/announcement/Pages/SystemMaintenanceK-Trade-Connect.aspx/
/th/personal/insure/non-life/pages/dengue-insurance.aspx
Middle|Left
Black
ประกันภัยโรคไข้เลือดออก
KWebPageContentHead
InvisibleSectionName
10
Padding
Black
Middle|Left
Left
InvisibleSectionName
20
Padding
KWebPageComponent2HTML
เงื่อนไขการรับประกัน
Black
Middle|Left
Left
InvisibleSectionName
30
Padding
KWebPageComponent3HTML
ผลประโยชน์และเบี้ยประกัน
Black
Middle|Left
Left
InvisibleSectionName
40
Padding
KWebPageComponent4HTML
คำถามที่พบบ่อย
Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
11
Padding
KWebPageComponent5HTML
ประกันไข้เลือดออก เจอจ่ายจบ ประกันภัยหายห่วง ไข้เลือดออก
จุดเด่นประกันไข้เลือดออก
คุ้มครองโรคร้ายจากยุงลาย เบี้ยถูกเริ่มต้น
99 บาท / ปี
ครอบคลุมตั้งแต่อายุ 1-70 ปี
สบายใจทำได้ทั้งครอบครัว
เบี้ยถูก
จ่ายเบี้ยเบา ๆ
เริ่มต้น 99 บาท / ปี
ครอบคลุมทุกวัย
เด็กตั้งแต่ 1 ปี
และ ผู้ใหญ่ถึงอายุ 70 ปี
คุ้มครองค่ารักษาพยาบาล
สูงสุด 50,000 บาท
ทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก
สมัครเลย
มีเงินชดเชยรายวันให้
สูงสุด 1,800บ./วัน
Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
21
Padding
KWebPageComponent6HTML
เงื่อนไขการรับประกันภัย
ใครสามารถทำประกันไข้เลือดออกได้บ้าง ?
- รับเฉพาะผู้ที่มีสัญชาติไทยเท่านั้น ไม่จำกัดอาชีพ
- อายุรับประกันภัย 1-70 ปี (ปี พ.ศ.ปัจจุบัน ลบด้วยปี พ.ศ. เกิด)
- สามารถสมัครได้ 1 กรมธรรม์ต่อ 1 คน
- ผู้เอาประกันภัยจะต้องมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายพิการ
- ระยะเวลารอคอย (Waiting Period) 15 วันนับจากวันที่กรมธรรม์มีผลบังคับเป็นครั้งแรก
Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
31
Padding
KWebPageComponent7HTML
ผลประโยชน์และเบี้ยประกัน
เลือกแผนคุ้มครองโรคร้ายจากยุงลายที่เหมาะกับคุณ
ความคุ้มครองประกันภัยโรคไข้เลือดออก | จำนวนเงินเอาประกันภัย (บาท) |
---|
แผน 1 | แผน 2 | แผน 3 |
---|
- ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน (IPD)และผู้ป่วยนอก(OPD) เฉพาะโรคไข้เลือดออกเท่านั้น (แบบจ่ายตามจริง) ไม่เกินวงเงินสูงสุดต่อการเข้ารักษาตัวครั้งใดครั้งหนึ่ง
| 10,000 | 30,000 | 50,000 |
- เงินชดเชยรายวันกรณีรักษาตัวเป็นผู้ป่วยใน(IPD) อยู่ในโรงพยาบาลอันเนื่องมาจากการเจ็บป่วยเฉพาะโรคไข้เลือดออกเท่านั้น (สูงสุด 30 วันนับจากวันแรกที่เข้าพักรักษาตัวเป็นผู้ป่วยใน) ชดเชยวันละ
| 1,200 | 1,500 | 1,800 |
อายุรับประกันภัย (ปี) | เบี้ยประกันภัยรายปี (บาท) |
1 - 70 ปี | 99 | 199 | 399 |
คลิกและเลื่อนเพื่อดูข้อมูล
ผู้ให้บริการประกัน |
---|
ผู้รับประกันบมจ.เมืองไทยประกันภัย | ผู้นำเสนอบมจ.ธนาคารกสิกรไทย ในฐานะนายหน้านิติบุคคล ใบอนุญาตเลขที่ ว00002/2547 |
หมายเหตุ:*
- บมจ.ธนาคารกสิกรไทย ในฐานะนายหน้าประกันวินาศภัย เป็นผู้นำเสนอผลิตภัณฑ์ด้านการประกันวินาศภัยและอำนวยความสะดวกในการรับชำระเบี้ยประกันเท่านั้น โดย บมจ.เมืองไทยประกันภัยจะเป็นผู้รับผิดชอบในเงื่อนไขความคุ้มครอง และสิทธิประโยชน์ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย
- ผู้ซื้อควรทำความเข้าใจในรายละเอียดความคุ้มครองและเงื่อนไขก่อนตัดสินใจทำประกันภัยทุกครั้ง
Black
Middle|Left
Left
HtmlBlock
41
Padding
KWebPageComponent8HTML
คำถามที่พบบ่อย
โรคไข้เลือดออก หมายถึง ?
โรคไข้เลือดออก (Dengue Hemorrhagic Fever) หมายถึง โรคติดต่อซึ่งมีผลต่อระบบเลือด เกิดจากเชื้อไวรัสเด็งกี่ (Dengue Virus) โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค ซึ่งเป็นโรคยอดฮิตที่มักเกิดช่วงหน้าฝน ผู้ป่วยมักจะมีอาการไข้ขึ้นสูงโดยไม่ทราบสาเหตุชัดเจน มีผื่นหรือจุดแดงของเลือดออกตามผิวหนัง เกล็ดเลือดและเม็ดเลือดขาวต่ำ อาจมีอาการถึงช็อค เนื่องจากภาวะเลือดออกอวัยวะภายในร่างกาย ทั้งนี้ ต้องได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์อย่างชัดเจนและมีผลตรวจเลือด และ/หรือผลการตรวจจากห้องปฏิบัติการเพื่อยืนยัน
ซื้อแล้วคุ้มครองเลยหรือไม่ ?
กรมธรรม์มีผลทันทีที่ชำระเงิน และมีระยะเวลารอคอย 15 วัน โดยบริษัทฯ จะไม่จ่ายผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยนี้สำหรับการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกที่เกิดขึ้นในระยะเวลา 15 วันนับจากวันที่กรมธรรม์ประกันภัยมีผลบังคับเป็นครั้งแรก
ระยะเวลารอคอย หรือระยะเวลาที่ไม่คุ้มครอง หมายถึง ?
ระยะเวลารอคอย หรือระยะเวลาที่ไม่คุ้มครอง หรือ Waiting Period หมายถึง ระยะเวลา 15 วันนับจากวันที่กรมธรรม์ประกันภัยนี้เริ่มมีผลบังคับเป็นครั้งแรก ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะไม่ได้รับความคุ้มครองตามกรมธรรม์ประกันภัยนี้
ตัวอย่าง : กรมธรรม์ประกันภัยเริ่มมีผลบังคับเป็นครั้งแรกวันที่ 1/7/2563 เวลา 11.15 น. ระยะเวลารอคอย 15 วัน คือ วันที่ 1/7/2563 ถึง 16/7/2563 เวลา 11.15 น.
ซื้อประกันภัยโรคไข้เลือดออกนี้ให้คนอื่นได้หรือไม่ ?
ค่ารักษายาบาลผู้ป่วยใน (IPD) และผู้ป่วยนอก (OPD) จ่ายอย่างไร ?
สำหรับความคุ้มครองการรักษาพยาบาลกรณีผู้ป่วยใน (IPD) และกรณีผู้ป่วยนอก (OPD) หากผู้เอาประกันภัยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและต้องเข้ารับการรักษาพยาบาลเป็นผู้ป่วยใน (IPD) หรือผู้ป่วยนอก (OPD) ของโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลเวชกรรม หรือคลินิก จะจ่ายค่าทดแทนสำหรับค่าใช้จ่ายที่จำเป็นและสมควร ซึ่งเกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลตามความจำเป็นทางการแพทย์และมาตรฐานทางการแพทย์ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่าบริการพยาบาลค่าบริการทั่วไป หรือค่ายา เป็นต้น ตามจำนวนเงินที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินจำนวนเงินเอาประกันภัยตามที่ระบุไว้ในตารางกรมธรรม์ประกันภัย
เงินชดเชยรายวันกรณีรักษาตัวเป็นผู้ป่วยใน (IPD) เนื่องมาจากโรคไข้เลือดออก จ่ายอย่างไร ?
สำหรับความคุ้มครองเงินชดเชยรายวันระหว่างรักษาตัวเป็นผู้ป่วยใน (IPD) ของโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลเวชกรรมตามความจำเป็นทางการแพทย์และมาตรฐานทางการแพทย์ บริษัทฯ จะจ่ายค่าชดเชยรายวันให้กับผู้เอาประกันภัยตามจำนวนวันที่เข้าพักรักษาตัวเป็นผู้ป่วยในของโรงพยาบาลสูงสุด 30 วันต่อการเข้าพักรักษาตัวครั้งใดครั้งหนึ่ง ตามที่ระบุไว้ในตารางกรมธรรม์ประกันภัย
โดยผู้เอาประกันภัยจะต้องส่งหลักฐานดังต่อไปนี้ให้แก่บริษัทฯ ภายใน 30 วันนับจากวันที่ออกจากรพ.
- แบบฟอร์มการเรียกร้องค่าทดแทนที่กำหนดโดยบริษัท
- ใบรายงานแพทย์ที่ระบุว่าเป็นโรคไข้เลือดออก อาการสำคัญ และผลการวินิจฉัย
- ผลตรวจเลือด และ/หรือผลการตรวจจากห้องปฏิบัติการ
- ใบแสดงรายละเอียดค่าใช้จ่าย (ถ้ามี)
- ประวัติการรักษา (ถ้ามี)
- สำเนาหน้าบัญชีธนาคารของผู้เอาประกันภัย (เพื่อรับค่าทดแทนกรณีได้รับความคุ้มครอง)
โดยส่งเอกสารมาที่ ส่วนพิจารณาค่าสินไหมทดแทน ฝ่ายประกันภัยอุบัติเหตุและสุขภาพ บมจ.เมืองไทยประกันภัย อาคารสำนักงานใหญ่ ชั้น 4 ถ.รัชดาภิเษก ห้วยขวาง กทม. 10310
ค่ารักษาพยาบาล รวมค่าห้อง หรือค่าบริการอื่นๆ ด้วยหรือไม่ ?
รวม กล่าวคือ หากผู้เอาประกันภัยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และต้องเข้ารับการรักษาพยาบาลเป็นผู้ป่วยใน (IPD) หรือผู้ป่วยนอก (OPD) ของโรงพยาบาล กรมธรรม์คุ้มครองทั้งค่ารักษาพยาบาล ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่าบริการพยาบาล ค่าบริการทั่วไป หรือค่ายา เป็นต้น โดยจ่ายตามจำนวนเงินที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินจำนวนเงินเอาประกันภัยตามที่ระบุไว้ในตารางกรมธรรม์ประกันภัย
ต้องสำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลก่อนหรือไม่ ?
เมื่อพ้นระยะเวลารอคอย 15 วันนับจากวันที่กรมธรรม์ประกันภัยนี้เริ่มมีผลบังคับเป็นครั้งแรก ไม่ต้องสำรองจ่ายค่ารักษาฯ ทั้งกรณีผู้ป่วยใน (IPD) และผู้ป่วยนอก (OPD) หากเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาล/โรงพยาบาลคู่สัญญาตามที่กำหนดไว้ เพียงแสดงบัตรประจำตัวประชาชน พร้อมแจ้งชื่อบริษัทรับประกันภัยให้ถูกต้อง คือ บมจ.เมืองไทยประกันภัย
ในช่วงระยะเวลาที่กรมธรรม์มีความคุ้มครอง แล้วเคยเคลมหรือเป็นโรคไข้เลือดออกไปแล้ว สามารถเคลมได้อีกหรือไม่ ?
กรณีที่ 1 : การเข้ารักษาตัว & ออกจากรพ.และเข้ารับการรักษาอีกรอบด้วยโรคเดิมภายใน 90 วันนับตั้งแต่วันออกจากรพ.ครั้งสุดท้าย โดยการเข้ารักษาตัวจากโรคเดิมครั้งที่ 2 ภายใน 90 วันนั้น จะถือคำนวณเงินคุ้มครองค่ารักษารวมกับครั้งแรก
กรณีที่ 2 : การเข้ารักษาตัว & ออกจากรพ.และเข้ารับการรักษาอีกรอบด้วยโรคเดิม แต่เกิน 90 วัน โดยการเข้ารักษาตัวจากโรคเดิมครั้งที่ 2 หลังจากครั้งแรกเกิน 90 วัน จะถือเป็นการรักษาตัวครั้งใหม่ วงเงินจะนับใหม่ แม้จะป่วยเป็นโรคเดิมก็ตาม
ช่องทางการชำระเงิน มีอะไรบ้าง ?
สามารถชำระได้ด้วย
- บัตรเครดิตทุกธนาคารที่มีสัญลักษณ์ VISA MASTER
- ชำระด้วย QR Code ผ่าน Mobile Application ของธนาคารกสิกรไทย (K PLUS) & ธนาคารทหารไทย (TMB Touch)
- ชำระด้วย Barcode ผ่าน Counter Service –ค่าธรรมเนียม 15 บาท / รายการ หรือชำระผ่าน Counter สาขาของธนาคารทุกธนาคารโดยไม่มีค่าธรรมเนียม
กรมธรรม์จะได้รับอย่างไร ลูกค้าจะได้รับอะไรบ้าง ?
กรณีชำระด้วยบัตรเครดิต > จะได้รับ Email ยืนยันคำสั่งซื้อ และ SMS ยืนยันความคุ้มครอง
กรณีชำระด้วย QR Code /Barcode > จะได้รับ SMS ยืนยันความคุ้มครอง โดยกรมธรรม์จะจัดส่งให้ทาง Email
หากมีข้อสงสัย หรือสอบถาม สามารถติดต่อได้ที่ไหน ?
สามารถโทรสอบถามได้ที่ Call Center โทร.1484 หรือ Email สอบถามได้ที่ : mti_kbankonline@muangthaiinsurance.com
เบี้ยประกันภัยสามารถลดหย่อนภาษีได้หรือไม่ ?
สามารถนำเบี้ยประกันภัยไปหักลดหย่อนภาษีได้เต็มจำนวน
Black
Middle|Left
Left
None
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
Padding
Black
Middle|Left
Left
None
Padding
Black
Middle|Left
Left